คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม
คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม
แบ่งออกเป็น
3 ส่วน การใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรมสามารถแบ่งออกเป็น 3
ส่วน คือ
1. การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการสารสนเทศ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
3.การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการการผลิต
โดยงานทั้ง 3 ส่วนนี้มีความสัมพันธ์กันมีการทางานร่วมกันเรียกรวม ๆ ว่า CIM
(computer integrated manufacturing) และ ระบบ CAD/CAM มีความสามารถในการประมวลผลและรับส่งข้อมูลได้จึงเป็นเครื่องมือในการแบ่งเบาภาระการทางานของมนุษย์โดยเฉพาะงานที่มีความซับซ้อนทาซ้าหลายครั้งและมีความเกี่ยวกับข้อมูลจานวนมากเช่นการแก้ไขปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์ ทางวิศวกรรมและธุรกิจเป็นต้น การทางานจะมีขั้นตอนการทางานที่แตกต่างกันดังนั้นจึงควรศึกษาหรือทาความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรมต่อไป
ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล CIM
1. ลดเวลาและต้นทุนการผลิตในส่วนของการออกแบบ
และ กระบวนการผลิต
2. ความผิดพลาดน้อยลง
3. ลดขั้นตอนการผลิตสินค้า
4. สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้
5. วัสดุสิ้นเปลืองลดลง
6. วางแผนงานได้
การใช้โปรแกรม CIMในงานอุตสาหกรรม
ย่อมาจากคาว่า computer
integrated manufacturing เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบที่ทาการผลิตแบบอัตโนมัติกับการจัดการสารสนเทศ
โดยระบบจะช่วยทาการผลิตแบบอัตโนมัติคือช่วยในการออกแบบและผลิตควบคุมเครื่องมือหรือเครื่องจักรจะเป็นการทางานด้วยคาสั่งจากคอมพิวเตอร์เช่นการควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมและการวางแผนการใช้วัตถุดิบในการผลิตโดยอัตโนมัติ
การวางแผนงานจะสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายได้จะต้องมีการจัดข้อมูลที่ต้องใช้ทั้งหมดมารวมอยู่เพียงแห่งเดียวจากนั้นก็จัดการกระบวนการผลิตทั้งหมดโดยอัตโนมัติได้ทันที
ข้อมูลที่สร้างขึ้นโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะถูกนามาเก็บไว้ที่ศูนย์สารสนเทศเพื่อที่ให้ฝ่ายอื่น
ๆ สามารถนาไปใช้งานและนาไปทดสอบหรือแก้ไขโดยฝ่ายอื่นได้ ตัวอย่างเช่นหากมีการสั่งทาสินค้ามาชนิดหนึ่งฝ่ายออกแบบก็จะออกแบบสินค้าตามความต้องการของลูกค้าฝ่ายวิศวกรก็จะนาข้อมูลจากการออกแบบนี้ไปทดสอบว่าจะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่หากทุกย่างเรียบร้อยฝ่ายจัดหาวัตถุดิบก็จะเตรียมวัสดุไว้เป็นปริมาณตามต้องการจากนั้นฝ่ายควบคุมการผลิตก็
นำข้อมูลเกี่ยวกับตัวสินค้าซึ่งได้มีการออกแบบและทดสอบเรียบร้อยแล้วไปผลิตต่อไปและขณะที่ผลิตสินค้าแผนกอื่น
ๆ ก็นาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้านี้ไปใช้งานด้วยจึงทาให้สามารถเตรียมการต่าง ๆ ได้ล่วงหน้าเช่นฝ่ายบรรจุหีบห่อซึ่งทราบขนาดและจานวนของสินค้าจากศูนย์สารสนเทศ
ก็จะเตรียมหีบห่อไว้ ในขณะเดียวกันก็จะเตรียมออกใบเสร็จให้ลูกค้า การทางานของระบบ CIM
การใช้โปรแกรม CAD ในงานอุตสาหกรรม
(computer
aided design หรือ CAD) เป็นการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูลเข้ามาช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์รวมทั้งรูปแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์หรือการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยทางด้านการออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความเป็นจริงตลอดจนช่วยลดต้นทุนการดาเนินงานในการออกแบบโดยเฉพาะในเรื่องของเวลา
การแก้ไข และการจัดเก็บแบบ
คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบมีหน้าที่สำคัญสองประการประการแรกคืออานวยความสะดวกในการเขียนแบบ (drafting) ของชิ้นงานที่ต้องการบนจอภาพการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบตัดความยุ่งยากในการเขียนแบบบนกระดาษด้วยมือเป็นงานละเอียดต้องการความสามารถสูง
และกินเวลานานออกไปทั้งนี้คอมพิวเตอร์สามารถแสดงภาพบนจอจากข้อมูลที่ผู้ออกแบบป้อนให้เป็นภาพทั้งในระบบสองมิติ
และสามมิติได้ตามต้องการ
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (computer
aided design) หรือ CAD เป็นการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูลเข้ามาช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์รวมทั้งรูปแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์หรือการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความเป็นจริงตลอดจนช่วยลดต้นทุนการดาเนินงานในการออกแบบโดยเฉพาะในเรื่องของเวลาการแก้ไขแบบต่าง
ๆ และการจัดเก็บแบบต่าง ๆ
การใช้โปรแกรม CAM ในงานอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (computer
aided manufacturing or CAM) หมายถึงการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิตสินค้าในโรงานอุตสาหกรรม
เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์จะมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ในการทางานที่ซ้ำกันตลอดจนสามารถตรวจสอบรายละเอียดข้อผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐานที่ต้องการซึ่งจะช่วยประหยัดระยะเวลาและแรงงานประการสำคัญช่วยให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์มีความสม่ำเสมอตามที่กำหนด
CAM คือการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเขียนโปรแกรมเพื่อนาใช้ควบคุมเครื่องจักรกลซีเอ็นซี
โดยใช้ข้อมูลทางรูปร่างจาก CAD ไปทาการกำหนดว่าจะใช้เครื่องจักรชนิดใดในการผลิต,
ใช้อุปกรณ์ตัดเฉือนอะไรบ้างใช้วัสดุทาชิ้นงานขนาดเท่าใดวางตำแหน่งที่อ้างอิงอย่างไร,ใช้วิธีการตัดเฉือนและมีขั้นตอนทางานอย่างไร รวมไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองขั้นตอนการทางานและการตรวจสอบความถูกต้อง
CAM เป็นคาย่อมาจากคาว่า
computer aided manufacturing ซึ่งแปลตามศัพท์ได้ความว่า คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตซึ่งจะใช้ซอฟต์แวร์
เพื่อควบคุมเครื่องจักรให้สามารถสร้างชิ้นงานได้ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว (คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต, 2551)
CAM คือคาย่อของ computer
aided manufacturing แปลเป็นภาษาไทยว่าคอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตเป็นการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างระบบรหัสจี
(G-code) เพื่อควบคุมเครื่องจักรซีเอ็นซีในการกัดขึ้นรูปชิ้นส่วน โดยใช้ข้อมูลทางรูปร่างจาก
CAD
การใช้โปรแกรม CAD/CAM ในงานอุตสาหกรรม
งานอุตสาหกรรมเป็นงานที่มีการแข่งขันสูงผู้ที่จะอยู่ในแนวหน้าได้ต้องผลิตสินค้า
ออกมาได้ทันต่อความต้องการของตลาดสินค้าที่ดีต้องมีคุณภาพดีราคาถูกกระบวนการผลิตสินค้านั้นแต่เดิมมีลักษณะโดยขั้นแรกต้องรู้ถึงความต้องการของตลาด
จากนั้นจึงประยุกต์ขึ้นมาเป็นสินค้า มีการออกแบบ วางแผนการผลิตจัดการผลิตตรวจสอบคุณภาพแล้วส่งออกสู่ตลาดกระบวนการเหล่านี้เป็นงานที่ค่อนข้างเสียเวลาดังนั้นโอกาสที่จะถูกคู่แข่งขันทางการค้าชิงตัดหน้าออกสินค้ามาขายก่อนจึงมีสูง
แต่เมื่อมีการประยุกต์ใช้ CAD/CAM เข้ามาช่วย จึงทาให้ย่นระยะเวลาและกระบวนการลงได้มาก
ข้อได้เปรียบของการใช้ระบบ CAD/CAM เข้ามาช่วยในด้านการผลิตก็คือการย่นเวลาในการออกแบบโดยผลงานที่ออกมามีความถูกต้องเชื่อถือได้อีกทั้งมีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขค่าใช้จ่ายในการสร้างผลงานก็อยู่ในเกณฑ์ต่ำและเมื่อมีการนาข้อมูลที่ออกแบบไว้ไปใช้งานในการผลิตก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการเพราะเป็นข้อมูลชุดเดียวกันไม่ต้องมีการใส่ข้อมูลใหม่จึงทุ่นเวลาในการผลิต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น